ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตอาหารเสริมไอโซฟลาโวน เพื่อการเกษตร จากข้าวไรซ์เบอร์รี่มาตรฐานอินทรีย์ไทย เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2567
20/01/2024โครงการอบรม ผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์กระดาษลายน้ำจากก้านบัวขาวมงคล เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
09/02/2024โครงการยกระดับการตลาดสินค้าชุมชนด้วยการตลาดดิจิทัล
กิจกรรมที่ 1 วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2567
ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ)
ดำเนินการโดย สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
สถานที่ดำเนินการ
ชุมชนวิสาหกิจสวนเราเกษตรอินทรีย์ ตำบลบึงบา อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1.เผยแพร่ความรู้เรื่องการตลาดดิจิทัลให้กับชุมชน
2.ประยุกต์ใช้โมเดลทางการตลาดดิจิทัลกับการขายผลิตภัณฑ์ในชุมชน
3.สมาชิกในชุมชนสามารถสร้างรายได้และพึ่งพาตนเองได้
หลักการและเหตุผล
วิสาหกิจสวนเราเภษตรอันทรีย์ ตำบลบึงบา อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี ตั้งอยู่ที่ 5/10 หมู่ที่ 8 ตำบลบึงบา อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี โดยมีคุณผจญ หวังขม เป็นหัวหน้าชุมชน การจัดตั้งวิสาหกิจเริ่มต้น เพื่อปลูกผักอินทรีย์รับประทานกันภายในชุมชน ต่อมามีการพัฒนาการปลูก ประกอบกับมีหน่วยงานหลายๆ องค์กรเข้ามาให้ความรู้ และส่งเสริมการทำผักอินทรีย์ ทำให้วิสาหกิจเติบโด โดยปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ออกจำหน่าย 2 ประเภท ได้แก่ 1) อาหาหารเสริมชีวอินทรีย์ ซึ่งเป็นอาหารเสริมในการปลูกผัก และ 2)ผงเคลสกัด เป็นอาหารเสริมที่มีคุณค่าโภชนาการ ซึ่งการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชน เป็นรูปแบบเดิม การบอกต่อภายในชุมชน ทำให้ยอดการสั่งซื้อมีไม่มาก ไม่เป็นที่รู้จัก รายได้ไม่แน่นอน
ทางทีมผู้วิจัยใด้เล็งเห็นถึงปัญญาเรื่องการทำการตลาดและการหากลุ่มเป้าหมายลูกค้า จึงเห็นควรจะทำการยกระดับการตลาดสินค้าชุมชนด้วยวิธีทางการตลาดดิจิทัล ซึ่งการทำการตลาดดิจิทัลเป็นรูปแบบหนึ่งของการโปรโมดหินค้าไปชุมชนวิชาหกิจสวนเราเกษตรอินทรีย์ ตำบลบึงบา อำเภอหนองเสือ จังหวังหวัดปหมธานี ผ่านทางสื่อดิจิทัล ที่ระบบมีการสร้างส่วนร่วมกับผู้บริโภค เพิ่มยอดชาย ด้วยกลยุทยุทธ์ทางสื่อดิจิทัล ที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ที่ผู้บริโภคสามกรถเข้าถึงสื่อเหล่านี้ได้ง่าย และสามกรถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาตลอด 24 ชั่วโมง สร้างแบรนด์ใหม่อย่างสินค้าในชุมชนให้ขยายไปในวงกว้าง เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้จำนวนมาก มีโอการที่จะเป็นที่รู้จักและเติบโตโตได้อย่างรวดเร็ว โดยในงานวิจัยนี้จะขยายการตลาดแบบดิจิทัลอย่างโซเขียลมีเสีย เช่น เฟสบุ๊ค(Facebook) ไลน์โอเอ (LineOA) และ ติ๊กต๊อก (TikTok) ไปเป็นการเพิ่มเนื้อหาที่มีคุณภาพแจกจ่ายไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เช่น บล็อกโพสต์ บทความข้อเสนอแนะ Infographic โบรชัวร์ออนไลน์ นอกจากนี้ยังมีการทำโปรโมชั่นกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายโดยใช้ Pay Per Click ในการลงโฆษณาบนหน้าแสดงผลการค้นหาใน Search Engine และการทำอีเมลข้อมูลข่าวสาร ติดตามผู้เข้าชม โปรโมชั่นสำหรับลูกค้า สมาชิกในชุมชนวิลาหกิจสวนเราเกษตรอินทรีย์สามารถตั้งเป้าหมายให้ชัดเจน วัดผลได้ อย่างเช่น จำนวนการสั่งซื้อต่อวัน ต่อเดือน ยอดขายต่อเดือน คนติดตามโซเชียลมีเดีย คนเข้ามาดูเว็บไซต์ต่อเดือน ซึ่งการวัดผลลัพธ์การตลาดดิจิทัลในด้านเป้าหมาย ผลทัพธ์ แนวทางการปรับปรุง ทำให้ถึงเป้าหมายให้ได้ ส่งผลดีให้กับสมาชิกในวิสาหกิจชุมชนทั้งคุณภาพชีวิต คุณภาพสังคม