โครงการยกระดับการตลาดสินค้าชุมชนด้วยการตลาดดิจิทัล กิจกรรมที่ 3
25/06/2024โครงการ การออกแบบตัดเย็บผลิตภัณฑ์หมวก เส้นใยจากใบย่านางจังหวัดสระแก้ว
30/06/2024หลักการและเหตุผล
การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่น เป็นหนึ่งในการดำเนินงานเพื่อสนองพระราชดำรีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยจึงจึยจึงมีการสนับสนุนให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมไมการผลักดันให้เกษตรกรในท้องถิ่นตระหนักและใช้หรัพยากรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์อย่างสูงที่สุด คณะทีมทำงานของโครงการบริการวิชาการจึงมีแนวคิดที่จะนำองค์ความรู้ที่ได้จากโครงการวิจัยมาถ่ายทอดสู่ชุมชนแห่งนี้ผ่านโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการที่ประกอบไปด้วยเนื้อหาความรู้และทักษะทางวิชาชีพที่เกษตรกรในชุมชนสามารถน้ำใบใช้เพื่อพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ของชุมชมชนต่อไปได้ เช่น การตากกล้วยโดยใช้เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบพาราโบลาโดมชนาดครัวเรือนซึ่งเป็นเครื่องที่มีราคาไม่สูงมากแต่มีประสิทธิภาพในการผลิตกล้วยตากและพัฒนาปิ่นผลิตภัตภัณฑ์ในเชิงพาณิชย์ได้ เทคนิคการตากกกล้วยหอมอย่างไม่ไม่ให้สีกล้วยคล้ำ การควบคุมคุมคุณภาพผลิตภัตภัณฑ์กล้วยแปรรูป การวิเคราะห์เบื้องต้นและการพัฒนาทักษะด้านการตลาด เป็นต้น โครงการบริการวิชากาจะผลักลักตันให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนซึ่งเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเศรษฐกิจระดับจุลภาคที่รัฐบาลได้ให้ความสำคัญเป็นอย่างมางมาก เพราะจะทำให้เกิดลักษณะของวิสาหกิจชุมชนที่มีความเข้มแข็ง เพิ่มรายได้ใต้ให้แก่คนในชุมชนจากผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ได้พัฒนาขึ้น เช่น ผลิตภัณฑ์กล้วยตากพลังงานแสงอาทิตย์ ผลิตภัณฑ์กลัวยหนึบ เป็นต้น ซึ่งเหล่านี้จะทำให้ประชาชนในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้
วิทยากรประกอบไปด้วย (บุคลากรในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และการจัดการเทคโนโลยีอาหาร)
1. ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.อารณี โชติโก
2. รองศาสตรจารย์ ดร.จิราภรณ์ อนันต์ชัยพัทธนา
3. ดร.กิตติคุณ วรรณณะสวาสดิ์
4. ดร.ศิริลักษณ์ สุรินทร์
5. ดร.สายฝน โพธิสุวรรณ
6. ดร.วลีวรรณ แฉ่งประเสริฐ
7. ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.อัฏฐพล อิสสสระ
8. อ.ศศิประภา อัศววิบูลย์
9. ดร.เจนจิรา พกาวัลย์
10. ดร.พิรุฬห์รัชย์ ไทยสมัคร
11. ดร.ปกรณ์ สุวรรณโสภณ
การบูรณาการกับภารกิจอื่น
การนำเอาเทคโนโลยีการทำแห้งอาหารโดยพลังงานแสงองอาทิตย์ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชาเทคโลยีของกระบวนการทางอุตสาหกรรมอาหาร