รายงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุน

E-Book

 

4-รายงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุน-2016 Compressed (828.0 KiB, 945 downloads)

 

โครงการวิจัย

 

1นวัตกรรมการยืดอายุใบบัวหลวงหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรูปเป็นผลิตภัณฑ์ชาพร้อมดื่ม

ชื่อโครงการวิจัย

(ภาษาไทย) นวัตกรรมการยืดอายุใบบัวหลวงหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรูปเป็นผลิตภัณฑ์ชาพร้อมดื่ม
(English) Innovation extend lotus leave after harvesting and processing products of ready to drink tea

ประเภทโครงการวิจัย
ผลผลิต ผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้

ผลผลิต ผลงานด้านวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี

รายชื่อผู้วิจัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อินทิรา ลิจันทร์พร

ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินจำนวน
500,000 (ห้าแสนบาทถ้วน)

 

เริ่มทำการวิจัยเมื่อ
1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสนองโครงการพระราชดำริ อพ.สธ.

2. เพื่อศึกษาและวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวในกระบวนการผลิตใบบัวหลวง และการแปรรูป

3. เพื่อศึกษาและวิจัยการควบคุมการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในการผลิตใบบัวหลวง

4. เพื่อศึกษาวิธีการเก็บรักษา และยืดอายุการวางจำหน่ายและอายุการเก็บรักษาเพื่อตลาดที่อยู่ห่างไกลของใบบัวหลวง

5. เพื่อรวบรวมความรู้และการพัฒนาการวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สร้างเป็นนวัตกรรมการผลิตใบบัวหลวง


2ผลของกระบวนการผลิตต่อคุณภาพของชากลีบดอกบัวฉลองขวัญ

ชื่อโครงการวิจัย

(ภาษาไทย) ผลของกระบวนการผลิตต่อคุณภาพของชากลีบดอกบัวฉลองขวัญ (Nymphaea ‘Chalong Kwan’)
(English) Effect of process methods on quakities of tea from water lily (Nymphaea ‘Chalong Kwan’)


ประเภทโครงการวิจัย
ผลผลิต ผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้

ผลผลิต ผลงานด้านวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี

รายชื่อผู้วิจัย

หัวหน้าโครงการ


ดร. นันท์ชนก นันทะไชย

ผู้ร่วมโครงการ


ผศ.ดร.อินทิรา ลิจันทร์พร

ผศ.ดร.ปาลิดา ตั้งอนุรัตน์

ผศ.อัญชลินทร์ สิงห์คำ

ผศ.ภูรินทร์ อัครกุลธร

ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินจำนวน

450,000 (สี่แสนห้าหมื่นบาทถ้วน)

 

เริ่มทำการวิจัยเมื่อ
1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสนองโครงการพระราชดำริ อพ.สธ.

2. เพื่อศึกษาปริมาณสารแอนโทไซยานิน สารฟีนอลทั้งหมด และความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของกลีบดอกบัวฉลองขวัญ

3. เพื่อศึกษาระยะเวลาการคั่ว การนวด และการหมักกลีบดอกบัวที่เหมาะสมสำหรับการแปรูปเป็นชากลีบบัว

4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ชากลีบดอกบัวฉลองขวัญ


3โอลิโกแซคคาไรด์ของบัวหลวงและคุณสมบัติความเป็นพรีไบโอติก เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการวิจัย

(ภาษาไทย) โอลิโกแซคคาไรด์ของบัวหลวงและคุณสมบัติความเป็นพรีไบโอติก เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
(English) Oligosaccharides of lotus and their prebiotic properties for development of functional food products


ประเภทโครงการวิจัย
ผลผลิต ผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้

ผลผลิต ผลงานด้านวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี

รายชื่อผู้วิจัย

หัวหน้าโครงการ


ผศ.ดร.ปาลิดา ตั้งอนุรัตน์

ผู้ร่วมโครงการ


ผศ.ดร.อินทิรา ลิจันทร์พร

ดร. นันท์ชนก นันทะไชย

ผศ.อัญชลินทร์ สิงห์คำ

ผศ.ภูรินทร์ อัครกุลธร

ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินจำนวน
400,000 (สี่แสนบาทถ้วน)

 

เริ่มทำการวิจัยเมื่อ
1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสนองโครงการพระราชดำริ อพ.สธ.

2. เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการสกัดพรีไบโอติกส์จากส่วนต่างๆของบัวหลวง

3. เพื่อศึกษาคุณสมบัติของพรีไบโอติกส์ที่สกัดได้จากบัวหลวง

4. เพื่อศึกษากรรมวิธีผลิตโยเกิร์ตนมถั่วเหลืองเสริมฟรีไบโอติกส์จากบัวหลวงที่สกัดได้


4การศึกษาผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพื่อการรักษาแผลในสุนัข-แมวที่ทำจากสมุนไพรไทยและผลิตภัณฑ์

ชื่อโครงการวิจัย

(ภาษาไทย) การศึกษาผลิตภัณฑ์ต้นแบบเพื่อการรักษาแผลในสุนัข-แมวที่ทำจากสมุนไพรไทยและผลิตภัณฑ์
(English) The study of Wound Treatment Product (in dog-cats) Made from Thai Medicinal Herbs and By-Product


ประเภทโครงการวิจัย
ผลผลิต ผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้

ผลผลิต ผลงานด้านวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี

รายชื่อผู้วิจัย

หัวหน้าโครงการ


สพ.ญ.ดร.ปภาภัสสร์ ศรีมหาคุณวงศ์

ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินจำนวน

293,000 (สองแสนเก้าหมื่นสามพันบาทถ้วน)

 

เริ่มทำการวิจัยเมื่อ
1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสนองโครงการพระราชดำริ อพ.สธ.

2. เพื่อศึกษาการออกฤทธิ์ของสารสกัดสมุนไพรต่อเชื้อโรคที่พบบ่อยในบาดแผล

3. เพื่อศึกษาการทำผลิตภัณฑ์ใหม่จากสารสกัดสมุนไพรที่ทดสอบได้จากข้อ 2


5การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านไทย กรณีศึกษา ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี

ชื่อโครงการวิจัย

(ภาษาไทย) การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านไทย กรณีศึกษา ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
(English) The development in use of the Thai folk medical, case study in Tumbon Bo Kaeo, LardlumKaeow, pathumthani


ประเภทโครงการวิจัย
ผลผลิต ผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้

ผลผลิต ผลงานด้านวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี

รายชื่อผู้วิจัย

หัวหน้าโครงการ


นางสาว กัญญ์ธศยา อัครศิริฐรัตนา

ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินจำนวน

160,000 (หนึ่งแสนหกหมื่นบาทถ้วน)

 

เริ่มทำการวิจัยเมื่อ
1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อศึกษาและเก็บรวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน

2. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และต่อยอดภูมิปัญญาการแพทยืพื้นบ้านให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ

3. เพื่อจัดกิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีองค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านสู่ชุมชน


6การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสารสกัดบัวสายพันธุ์บัวผัน

ชื่อโครงการวิจัย

(ภาษาไทย) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสารสกัดบัวสายพันธุ์บัวผัน
(English) Development of natural products from lotus (Nymphaeaceae) extracts

รายชื่อผู้วิจัย

หัวหน้าโครงการ


ดร.กรวินท์วิชญ์ บุญพิสุทธินันท์

ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินจำนวน

1,000,000 (หนึ่งล้านบาทถ้วน)

 

 

เริ่มทำการวิจัยเมื่อ
ตุลาคม 2558 ถึง  กันยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ.

2. เพื่อทราบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดที่ได้จากส่วนต่างๆ ของบัวสายพันธุ์บัวผัน

3. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสารสกัดบัวสายพันธุ์บัวผัน


7เทคโนโลยีทางชีวภาพ “หัวเชื้ออัดเม็ด ราชมงคลธัญบุรี” เพื่อการพัฒนาชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ชื่อโครงการวิจัย

(ภาษาไทย) เทคโนโลยีทางชีวภาพ “หัวเชื้ออัดเม็ด ราชมงคลธัญบุรี” เพื่อการพัฒนาชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(English) Rajamangala Thanyaburi Fungal pellets Biotechnology for Sufficiency Economy Philosophy Implementaion for Community
Development

รายชื่อผู้วิจัย

หัวหน้าโครงการ


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์

ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินจำนวน

478,800 (สี่แสนเจ็ดหมื่นแปดพันแปดร้อยบาทถ้วน)

 

เริ่มทำการวิจัยเมื่อ
ตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ.

2. เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพชนิดเชื้อราและการเก็บรักษาเชื้อรา บริเวณป่าชายเลนหลังแนวกั้นคลื่นไม้ไผ่อายุ 7 ปี

3. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการชักนาการเจริญเติบโตต้นไม้เบิกนา บริเวณป่าชายเลนหลังแนวกั้นคลื่นไม้ไผ่อายุ 7 ปี ด้วยเทคนิคทางชีวภาพ

4. เพื่อตรวจติดตามทางชีวภาพ บริเวณป่าชายเลนหลังแนวกั้นคลื่นไม้ไผ่อายุ7 ปี ที่ทาการ ฟื้นฟูด้วยเทคนิคทางชีวภาพ

5. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการฟื้นฟูป่าชายเลนหลังแนวกั้นคลื่นไม้ไผ่อายุ 7 ปีด้วยเทคนิคทางชีวภาพให้กับชุมชน หมู่บ้าน

6. จัดทำฐานข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการฟื้นฟูดินเลนหลังแนวกั้นคลื่นไม้ไผ่อายุ 7 ปี ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่าน Website ของมหาวิทยาลัยฯ สาหรับเผยแพร่ความรู้ให้กับนักวิจัยและนักวิชาการ นาไปใช้ประโยชน์แบบยั่งยืน


8การพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์และพัฒนาชุมชนด้วยหัวเชื้อราผสม ตำบลบึงกาสาม จังหวัดปทุมธานี

ชื่อโครงการวิจัย

(ภาษาไทย) การพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์และพัฒนาชุมชนด้วยหัวเชื้อราผสม ตำบลบึงกาสาม จังหวัดปทุมธานี
(English)

รายชื่อผู้วิจัย

หัวหน้าโครงการ


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัชฌาณัท รัตนเลิศนุรณ์

ได้รับจัดสรรงบประมาณเป็นเงินจำนวน

149,500 (หนึ่งแสนสี่หมื่นเก้าพันห้าร้อยบาทถ้วน)

 

เริ่มทำการวิจัยเมื่อ
ตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559 รวมระยะเวลาโครงการ 1 ปี

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อสนองโครงการพระราชดาริ อพ.สธ.

2. เพื่อศึกษาต้นแบบจาลองพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ด้วยนวัตกรรมชีวภาพจากเชื้อราปฏิปักษ์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3. เพื่อจัดตั้งศูนย์เรียนรู้และปฏิบัติการอาชีพฯการพัฒนาการปลูกข้าวอินทรีย์ด้วยนวัตกรรมชีวภาพจากเชื้อราปฏิปักษ์ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

4. เพื่อจัดทาฐานข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนด้วยเทคนิคทางชีวภาพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่าน Website สาหรับเผยแพร่ความรู้ให้กับนักวิจัยและนักวิชาการ ชุมชน นักเรียน นักศึกษานาไปใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน